จิตวิทยากับการไหลเข้าออกของเงินในกองทุนรวมไทย

การวิจัยที่จัดทำโดย Prof.Dr.Thorsten Hens เรื่อง Behavioural Finance and Mutual Fund Flows: an international study พบว่า

ในการให้นักลงทุนในประเทศต่างๆ ตอบแบบสอบถาม นักลงทุนไทยโดยเฉลี่ย ที่ยินดีจะถือหุ้นยาวขึ้นอีกหนึ่งเดือน เพื่อรอให้ได้ผลตอบแทนที่สูงขึ้น (Patience Index) มีอยู่น้อยที่สุดเป็นอันดับที่หก จาก 53 ประเทศ และมีระดับของความไม่ชอบขาดทุน (Loss-aversion) สูงเป็นอันดับ 3 จากทั้งหมด Screen Shot 2557-05-26 at 11.34.52 AM

Screen Shot 2557-05-26 at 11.35.22 AM
การวิจัยยังพบด้วยว่า ยิ่งประเทศมีระดับ Loss-aversion ของนักลงทุนสูงเท่าไร ก็ยิ่งมีแนวโน้มที่เงินจะไหลเข้ากองทุนรวม ในช่วงที่กองทุนรวมเป็นขาขึ้น และไหลออกเมื่อกองทุนรวมเป็นขาลงมากเท่านั้น และทั้ง Loss-aversion กับ Patience Index ล้วนสัมพันธ์กับ ระดับความผันผวนของ net inflow/outflow ของกองทุนรวมของประเทศนั้นๆ ด้วย  

3 Replies to “จิตวิทยากับการไหลเข้าออกของเงินในกองทุนรวมไทย”

  1. ขอบคุณครับ

    ถ้าผมเข้าใจว่า นลท. บางกลุ่มของไทย ไม่ชอบถือหุ้นยาวๆ และอิทธิพลของกองทุนรวมก็มีผลต่อราคาหุ้นอยู่ไม่น้อย พอจะใกล้เคียงมั้ยครับ

  2. พี่โจ๊กครับ บทความนี้บ่งบอกว่าบ้านเรา มีนักลงทุนประเภทโมเมนตัมมากกว่าใช่รึเปล่าครับ?

  3. ต้องเข้า-ออก ตรงกันข้ามหรือป่าว ถึงจะถูก

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *